วันอังคารที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2552

น้ำมะพร้าว

- อุดมไปด้วยแร่ธาตุหลายชนิด

น้ำมะพร้าวถือเป็นเครื่องดื่มเกลือแร่จากธรรมชาติ (Natural Mineral Drink) เพราะอุดมไปด้วยแร่ธาตุหลายชนิด เช่น โพแทสเซียม เหล็ก โซเดียม แคลเซียม แมกนีเซียม ฟอสฟอรัส ทองแดง กรดอะมิโน กรดอินทรีย์  และวิตามินบี แถมยังมีน้ำตาลกลูโคสที่ร่างกายสามารถดูดซึมไปใช้เป็นพลังงานได้ทันทีอีกด้วย

- ชะลออาการอัลไซเมอร์

การดื่มน้ำมะพร้าวทุกวันจะช่วยชะลออาการอัลไซเมอร์ได้ จากผลงานวิจัยของ ดร.นิซาอูดะห์ ระเด่นอาหมัด อาจารย์ประจำภาควิชากายวิภาคศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พบว่า ในน้ำมะพร้าวมีฮอร์โมนคล้ายฮอร์โมนเพศหญิงหรือเอสโตรเจนสูง ซึ่งมีผลช่วยชะลอการเกิดโรคอัลไซเมอร์หรือความจำเสื่อมในสตรีวัยทอง นอกจากนี้ การดื่ม น้ำมะพร้าวเป็นประจำทุกวันยังสามารถช่วยสมานแผล ทำให้แผลหายเร็วขึ้นกว่าปกติ และไม่ทิ้งรอยแผลเป็นอีกด้วย

- ช่วยให้ผิวพรรณเปล่งปลั่ง

น้ำมะพร้าวสามารถช่วยเสริมสร้างความสวยใสของผิวพรรณ ทำให้เปล่งปลั่งและขาวนวลขึ้นจากภายในสู่ภายนอก เพราะในน้ำมะพร้าวมีเอสโตรเจนอยู่ ซึ่งมีส่วนสำคัญต่อการสร้างคอลลาเจนและอีลาสติน ทำให้ผิวกระชับ ยืดหยุ่น และชะลอการเกิดริ้วรอยก่อนวัยได้ และในน้ำมะพร้าวยังสามารถกระตุ้นการเจริญเติบโตและแบ่งเซลล์ได้ดี แถมยังมีฤทธิ์ขับปัสสาวะ ขับของเสียหรือสารพิษออกจากร่างกาย (คล้ายๆ กับการดีท็อกซ์) จึงช่วยทำให้ผิวพรรณผ่องใส อีกทั้งความเป็นด่างของน้ำมะพร้าวยังช่วยปรับสมดุลของร่างกายในช่วงที่มีความเป็นกรดสูง ทำให้กลไกการทำงานของระบบภายในเป็นปกติ ส่งผลให้มีสุขภาพดีจากภายในสู่ภายนอก
 
- สปอร์ตดริ๊งค์จากธรรมชาติ

เนื่องจากน้ำมะพร้าวมีปริมาณเกลือแร่ที่จำเป็นสูง รวมทั้งมีคุณสมบัติช่วยบรรเทาความอ่อนเพลียเนื่องจากอาการท้องเสียหรือท้องร่วงได้ จึงจัดเป็นสปอร์ตดริ๊งค์ (Sport Drink) สามารถดื่มหลังการสูญเสียเหงื่อจากการเล่นกีฬาหรือออกกำลังกาย นอกจากนี้ ในประเทศไต้หวันและประเทศจีน ยังนิยมดื่มน้ำมะพร้าวเพื่อลดอาการเมาหลังการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์อีกด้วย

 


เกลือ

นานาเรื่องของ เกลือ

     เกลือสินเธาว์ คือเกลือที่ได้จากดินที่น้ำชะล้างแล้วแห้งไป ปรากฏเป็นคราบเกลือติดอยู่บนผิวดิน เรียกว่า ส่าดิน เมื่อกวาดเอาผิวดินหรือส่าดินมาละลายน้ำแล้มต้มก็จะได้เกลือสินเธาว์ นำมาใช้ในเรื่องความงามกันพอสมควรด้วยลักษณะขาวร่วนและมีความบริสุทธิ์ของเกลือสินเธาว์ แต่ถ้าใช้ไม่ถูกวิธีก็อาจเกิดอาการระคายเคืองต่อผิวได้  ส่วนการนำมาปรุงอาหารนั้น เกลือสินเธาว์หรือเกลือกลั่นบริสุทธิ์นี้ให้รสเค็มจัด สีก็ขาวจั๋วะนาใช้แต่ไม่มีไอโอดีนตามธรรมชาติจึงต้องเคลือบสารไอโอดีนเพิ่มคุณค่าเข้าไปอีกรอบ

     เกลือเอปซอมหรือเรียกอีกอย่างว่า ดีเกลือผรั่งมีชื่อเป็นทางการว่า แมกนีเซียมซัลเฟตส พบทั่วไปในแหล่งที่มีเกลือแร่หรือน้ำทะเลระเหยเป็นไอ เกลือชนิดนี้มักนำมาใช้ในเรื่องของความงาม

     เกลือสมุทร เป็นเกลือที่ทำขึ้นด้วยวิธีการตากน้ำทะเลให้ระเหยไป เหลือเป็นผลึกเกลือสีขาว เกลือสมุทรมีความบริสุทธิ์น้อยกว่าเกลือสินเธาว์ เพราะมีแร่ธาตุและสารอื่นๆ เจือปนอยู่หลายชนิด ในเรื่องของความสวยความงาม เหลือสมุทรที่ผ่านกระบวนการผลิตที่ดีจะมีแร่ธาตุที่ดีต่อผิวพรรณมากกว่าเกลือสินเธาว์ เกลือสมุทรหรือเกลือทะเลที่มีสีขาวๆๆขุ่นๆๆนี้เหมือนที่โบราณเขาว่าไว้ อย่ามองกันแค่ภายนอก เพราะเกลือทะเลมีรสเค็มกลมกล่อม ปรุงอาหารได้อร่อยกว่า แถมยังมีวิตามินและแร่ธาตุตามธรรมชาติอีกกว่า 50 ชนิด ทั้งแคลเซียม แมกนีเซียม คลอไรด์ ไอโอดีน ตามธรรมชาติ และอีกมากมาย ทั้งหมดถือว่ามีประโยน์และจำเป็นต่อร่างกาย แม้ปัจจุบันจะมีกระแสสุขภาพที่กล่าวโทษของเกลือว่า เป็นบ่อเกิดของโรคความดัน โลหิตสูง หรือ โรคไต แต่หากรู้จักกินแต่พอดี เกลือก็ไม่ใช่ ศัตรูที่น่ากลัวของร่างกายและถ้าต้องเลือกกินเกลือที่มาจากธรรมชาติจริงๆ อย่างเกลือทะเลที่มีแร่ธาตุและไม่ผ่านกรรมวิธีสังเคราะห์มากมายเพราะของธรรมชาติก็ดีที่สุดคงจะเข้าใจกันแล้วหละว่าทำไมเหตุไฉนที่ครัวต้นไทรถึงได้จำเพาะเจาะจงว่าต้องใช้เกลือทะเลไว้เพื่มรสชาติให้อาหารทีเสริฟให้แขกที่รักและห่วงใยในสุขภาพทั้งหลายที่มาใช้บริการเท่านั้น

     เกลือชั้นยอดที่ขึ้นชื่อว่าเป็นเกลือที่แพงที่สุดในโลกมาจากฝรั่งเศส เฟลอเดอแซล Fleur De Sel  mean Flower of Salt สนราคากิโล ละ 2000 บาท เป็นเกลือที่ผลิตด้วยมือวิธีการพิถีพิถันซับซ้อน โดยจะต้องขูดเอาเกลือที่อยู่ชั้นบนสุดออกก่อนจะนำไปทำให้แห้ง และบางครั้งยังทำให้กรุ่นกลิ่นหอมด้วยดอกไม้ ได้เกลือผลึกขาวเงางาม ทั้งรสชาติล้ำลึก รสเค็มกลมกล่อมและเนื้อสัมผัสกรุบกรอบดีเยี่ยม ว่ากันว่าเบื้องหลังความอร่อยของอาหารฝรั่งเศสตั้งแต่โบราณ เพราะเพียงแค่โรยบนขนมปังทาเนยก็อร่อยแล้ว เฟลอเดอแซล ผลิตได้ตามชายฝั่งทั่วโลก แต่ส่วนใหญ่จะมาจากฝรั่งเศส โดยเฉพาะที่เมือง Bretagne นับเป็นแหล่งผลิตที่มีชื่อเสียงที่สุด

     เกลือถือเป็นเครื่องปรุงที่ธรรมดาที่สุด แต่ก็ยิ่งใหญ่ที่สุดเช่นกัน เพราะอย่างนี้พ่อครัวแม่ครัวที่พิถีพิถันในการปรุงอาหารมากๆจึงไม่ลืมที่จะให้ความสำคัญกับ เกลือ เช่นเดียวกับของใกล้ตัวอื่นๆในครัว เลือกอีกนิด ใส่ใจอีกหน่อย ความแตกต่างเล็กๆน้อยก็มีประโยชน์

   ส่วนพ่อครัวแม่ครัวไทยอย่างเราไม่ต้องถึงกับเสียดุลไปกับเกลือ เฟลอเดอแซล ทีไหนหรอกนะคะ แค่เกลือสทะเลแถวๆๆสมุทรสาครที่เราสั่งมาใช้ก็ทำอาหารได้อร่อยไม่แพ้กันแล้วหล่ะค่ะ

    

Aricot แอปริคอต

Aricot แอปริคอต

     แอปรคอตในภาษาละติน หมายถึงของล้ำค่าอันเป็นที่รัก ที่มาของชื่ออันสุดแสนโรแมนติกก็อาจเป็นเพราะผลไม้ชนิดนี้สุกเร็วกว่าผลไม้หน้าร้อนชนิดอื่นๆๆ อีกทั้งยังมีสีส้มจัดชวนมอง หากกินตอนสุกจะสัมผัสได้ถึงรสหวานอมเปรี้ยวหน่อยๆ สามารถกัดกินได้โดยไม่ต้องปอกเปลือก แต่ถ้าเมื่อไหร่ผลแอ๊ปริคอตที่ผลแอปริคอตโดนความร้อน ไม่ว่าจะทำขนมหรือแยม ความเปรี้ยวก็จะเข้าแทรกโดยไร้วี่แววของรสหวานเหมือนเมื่อตอนกินสด

     แน่นอนเมื่อมีสีส้มเข้มขนาดนี้ สารเบตา-แคโรทีนก็มีมากตามไปด้วย นอกจากนี้แอปริคอตยังอุดมไปด้วย วิตามินซี วิตามินเอ ธาตุเหล็กและโพแทสเซียม ที่สำคัญคือปราศจาก กรดไขมัน ไร้โซเดียมและคอเลสเตอรอล หากเลือกกินแบบตากแห้งก็จะได้รับโพแทสเซียม ธาตุเหล็ก และวิตามินเอ มากกว่าการกินผดลสด แต่รสชาดอาจจะเปรี้ยวกว่า ไม่หวานชื่นใจเท่า

    สรรพคุณต่อร่างกาย เชื่อว่า เบตา-แคโรทีน วิตามินเอและซี คงจะเป็นที่รู้จักในคนหมู่คนที่รักสุขภาพดีอยู่แล้ว แต่โพแทสเซียมอาจจะดังน้อยกว่า เพราะมีอยู่ในอาหารที่เรากินเป็นประจำอยู่แล้ว อีกทั้งยังดูดซัมไปใช้ได้ดี ดังนั้นจึงเป็นไปได้น้อยมากที่ร่างกายจะอยู่ในสภาวะที่ขาดสารอาหารตัวนี้ การที่ร่างกายจะขาดโพแทสเซียมได้นั้น มักเกิดจากระบบทางเดินอาหาร เช่น อาเจียน ท้องเสีย หรือ จากผิวหนัง เช่น การเสียเหงื่อจำนวนมาก หรือจากทางปัสสาวะ เช่น การได้รับยาขับปัสสาวะ ยาสเตอรอยด์ และยังพบได้ในผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ไม่ดี หรือผู้ป่วยที่เป็นเนื้องอกที่หมวกไต ส่วนอาการของผู้ที่มีโพแทสเซียมในเลือดต่ำ คือรู้สึกอ่อนเพลีย กล้ามเนื้ออ่อนแรง การบีบตัวของลำไส้ลดลง ทำให้ท้องอืดและหัวใจเต้นผิดปกติ เป็นต้น

     เลยทำให้สงสัยกันว่าเจ้าโพแทสเซียมคืออะไร ความจริงแล้วโพแทสเซียมเป็นเกลือแร่ชนิดหนึ่งซึ่งมีหน้าที่ควบคุมความสมดุลของน้ำใจร่างกาย และมีความสำคัญต่อการทำงานของระบบต่างๆในร่างกาย และมีความสำคัญต่อการทำงานของระบบต่างๆ ในร่างกายหลายอย่างโดยโพแทสเซียมจำเป็นต้องทำงานคู่กับโซเดียมเสมอ เพราะมีส่วนช่วยควบคุมความดันโลหิตสูง ซึ่งมีผลมาจากการรับโซเดียมเข้ามาในร่างกาย ถ้ามากเกินไปอาจทำให้เป็นโรคหัวใจในที่สุด ซึ่งอาหารที่เรารับเข้าไปมีโซเดียมมากเกินความจำเป็น ( นั่นเป็นเหตุผลว่าที่ทำงานที่ทำอยู่นั้นทำอาหารเพื่อสุขภาพ และขนมปังและของหวานที่ทำอยู่จึงได้ลดโซเดียมไปครึ่งหนึ่งเลยทีเดียว)

     เพราะฉะนั้น อีกหนึ่งวิธีในการลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคร้ายคือการเลือกอาหารที่ไม่ปรุงกลิ่นแต่งรสมากจนเกินไป และกินผัก ผลไม้ให้มากขึ้น โดยเฉพาะแอปริคอตที่อุดมไปด้วยโพแทสเซียม และให้ตรวจดูก่อนว่าแอปริคอตสุกไท่หรือยัง โดยสังเกตจากผิวซึ่งจะนิ่มลง แต่ถ้าเห็นร่องรอยเป็นจุดสีน้ำตาลหรือจับแล้วผลเหลวๆเละๆ ก็ให้คัดทิ้งไปเลยไม่ต้องเสียดาย ถ้าผลไม้ไม่สุกได้ที่ก็ให้เก็บไว้ในอุณหภูมิห้อง อย่าเพิ่งนำเข้าตู้เย็นเพราะกระบวนการสุกจะหยุดทันที

    หากต้องการเร่งผลกลมๆสีสวยนี้ให้สุกเร็วขึ้นให้นำไปสใงกระดาษวางพักไว้ในห้องครัว เมื่อสุกเปล่งปลั่งแล้วจึงนำเข้าตู้เย็นและควรล้างให้สะอาดก่อนจะนำเข้าปาก หากหาผลสดไม่ได้แอปริคอตแห้งก็เป็นทางเลือกหนึ่งอีกทั้งหาง่าย มีไว้ติดตู้ไว้ยามหิวได้สะดวกดี

 


 





วันศุกร์ที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2552

Egg Nogs History



Many believe that eggnog is a tradition that was brought to America from Europe. This is partially true. Eggnog is related to various milk and wine punches that had been concocted long ago in the "Old World". However, in America a new twist was put on the theme. Rum was used in the place of wine. In Colonial America, rum was commonly called "grog", so the name eggnog is likely derived from the very descriptive term for this drink, "egg-and-grog", which corrupted to egg'n'grog and soon to eggnog. At least this is one version...

Other experts would have it that the "nog" of eggnog comes from the word "noggin". A noggin was a small, wooden, carved mug. It was used to serve drinks at table in taverns (while drinks beside the fire were served in tankards). It is thought that eggnog started out as a mixture of Spanish "Sherry" and milk. The English called this concoction "Dry sack posset". It is very easy to see how an egg drink in a noggin could become eggnog.

The true story might be a mixture of the two and eggnog was originally called "egg and grog in a noggin". This was a term that required shortening if ever there was one.

With it's European roots and the availability of the ingredients, eggnog soon became a popular wintertime drink throughout Colonial America. It had much to recomend it; it was rich, spicy, and alcoholic.

In the 1820's Pierce Egan, a period author, wrote a book called "Life of London: or Days and Nights of Jerry Hawthorne and His Elegant Friend Corinthina Tom". To publicize his work Mr. Egan made up a variation of eggnog he called "Tom and Jerry". It added 1/2 oz of brandy to the basic recipe (fortifying it considerably and adding further to its popularity).

Eggnog, in the 1800s was nearly always made in large quantities and nearly always used as a social drink. It was commonly served at holiday parties and it was noted by an English visitor in 1866, "Christmas is not properly observed unless you brew egg nogg for all comers; everybody calls on everybody else; and each call is celebrated by a solemn egg-nogging...It is made cold and is drunk cold and is to be commended."

Of course, Christmas was not the only day upon which eggnog was popular. In Baltimore it was a tradition for young men to call upon all of their friends on New years day. At each of many homes the strapping fellows were offered a cup of eggnog, and so as they went they became more and more inebriated. It was quite a feat to actually finish one's rounds.

Our first President, George Washington, was quite a fan of eggnog and devised his own recipe that included rye whiskey, rum and sherry. It was reputed to be a stiff drink that only the most courageous were willing to try.

Eggnog is still a popular drink during the holidays, and its social character remains. It is hard to imagine a Christmas without a cup of the "nog" to spice up the atmosphere and lend merriment and joy to the procedings. When you try out some of the recipes on this site, remember that, like many other of our grand traditions, there is history and life behind that little frothy brew.